Thonburi lab Center
hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

แชร์บทความนี้ :

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

โรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบเป็นโรคหัวใจที่พบบ่อยที่สุดในผู้ใหญ่ และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่ำคัญอันดับต้นๆถึงแม้ว่าจะช่วยชีวิตให้รอดได้แต่ต้องได้รับการดูแลที่มีค่าใช้จ่ายสูงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการทราบความเสี่ยงล่วงหน้าและเตรียมตัวป้องกันก่อนหัวใจขาดเลือดจึงเป็นแนวทางที่ดีที่สุดของท่าน

 
hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

สาเหตุและอาการ

สาเหตุหนึ่งเกิดจากที่มีไขมันเกาะผนังหลอดเลือดหรือมีการกระตุ้นกลไกสร้างลิ่มเลือดเพิ่มขึ้นทำให้ขัดขวางการไหลของเลือด ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย การเต้นของหัวใจผิดจังหวะอย่างรุนแรงนำไปสู่การเสียชีวิตโดยกระทันหัน

hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

hs-CRP (High-sensitivity C-reactive protein) คืออะไร?

C-reactive protein หรือ CRP ค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ.1930 เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่สร้างมาจากตับ ในเวลาที่เกิดการอักเสบหรือการทำลายของเนื้อเยื่อภายในร่างกายในปัจจุบันมีการวัดแบบความไวสูง หรือที่เรียกว่า hs-CRP(High-sensitivity C-reactive protein) ซึ่งสามารถวัดค่า CRP ได้ต่ำถึง 0.1 mg/L ซึ่งมีประโยชน์ในการนำมาใช้ประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจตีบดังนี้

 
  1. การผ่าตัดนำหลอดเลือดดำที่ขาหรือหลอดเลือดแดงที่ผนังหน้าอกมาตัดต่อกับหลอดเลือดหัวใจที่อุดตัน หรือที่เรียกว่า “การทำบายพาส”
  2. การใช้บอลลูนขยายหลอดเลือดหัวใจ รวมถึงการใส่ขดลวดในหลอดเลือดหัวใจ
  3. การรักษาด้วยยา

การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ข้อแนะนำการตรวจ hs-CRP เพื่อตรวจสุขภาพหัวใจ

  1. ไม่จำเป็นต้องงดน้ำและอาหาร
  2. แนะนำให้ตรวจ 2 ครั้งห่างกันประมาณ 2 สัปดาห์ค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย จะได้ค่าที่แน่นอนและผิดพลาดน้อยกว่าการวัดครั้งเดียว (CDC/AHA Recommendation)
  3. การตรวจเลือดเพื่อตรวจสอบความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างสมบูรณ์ควรตรวจร่วมกับไขมันโคเลสเดอรอล, ไขมันไตรกลีเซอไรด์,ไขมัน : HDL, ไขมันไม่ดี : LDL (Lipid Profile)
  4. ในบุคคลสุขภาพดีต้องการเปิดประเมินความเสี่ยงในช่วงที่ตรวจเลือด ไม่ควรปวดข้อ ปวดเข่า มีโรคเกาต์ ไม่ฟกช้ำ ไม่เป็นหวัด ไม่มีอาการท้องเสีย
  5. ผู้ที่ได้รับการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบควรได้รับการตรวจเป็นประจำตามคำแนะนำของแพทย์ที่รักษา

ติดต่อสอบถาม หรือ นัดจอง ได้ที่

หรือ

ช่องทางติดต่อ Online

รายการตรวจแนะนำ

บทความสุขภาพน่ารู้

hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

แชร์บทความนี้ :

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

โรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบเป็นโรคหัวใจที่พบบ่อยที่สุดในผู้ใหญ่ และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่ำคัญอันดับต้นๆถึงแม้ว่าจะช่วยชีวิตให้รอดได้แต่ต้องได้รับการดูแลที่มีค่าใช้จ่ายสูงอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการทราบความเสี่ยงล่วงหน้าและเตรียมตัวป้องกันก่อนหัวใจขาดเลือดจึงเป็นแนวทางที่ดีที่สุดของท่าน

 
hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

สาเหตุและอาการ

สาเหตุหนึ่งเกิดจากที่มีไขมันเกาะผนังหลอดเลือดหรือมีการกระตุ้นกลไกสร้างลิ่มเลือดเพิ่มขึ้นทำให้ขัดขวางการไหลของเลือด ส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย การเต้นของหัวใจผิดจังหวะอย่างรุนแรงนำไปสู่การเสียชีวิตโดยกระทันหัน

hs-CRP กับ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

hs-CRP (High-sensitivity C-reactive protein) คืออะไร?

C-reactive protein หรือ CRP ค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ.1930 เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่สร้างมาจากตับ ในเวลาที่เกิดการอักเสบหรือการทำลายของเนื้อเยื่อภายในร่างกายในปัจจุบันมีการวัดแบบความไวสูง หรือที่เรียกว่า hs-CRP(High-sensitivity C-reactive protein) ซึ่งสามารถวัดค่า CRP ได้ต่ำถึง 0.1 mg/L ซึ่งมีประโยชน์ในการนำมาใช้ประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจตีบดังนี้

 
  1. การผ่าตัดนำหลอดเลือดดำที่ขาหรือหลอดเลือดแดงที่ผนังหน้าอกมาตัดต่อกับหลอดเลือดหัวใจที่อุดตัน หรือที่เรียกว่า “การทำบายพาส”
  2. การใช้บอลลูนขยายหลอดเลือดหัวใจ รวมถึงการใส่ขดลวดในหลอดเลือดหัวใจ
  3. การรักษาด้วยยา

การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ข้อแนะนำการตรวจ hs-CRP เพื่อตรวจสุขภาพหัวใจ

  1. ไม่จำเป็นต้องงดน้ำและอาหาร
  2. แนะนำให้ตรวจ 2 ครั้งห่างกันประมาณ 2 สัปดาห์ค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย จะได้ค่าที่แน่นอนและผิดพลาดน้อยกว่าการวัดครั้งเดียว (CDC/AHA Recommendation)
  3. การตรวจเลือดเพื่อตรวจสอบความเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างสมบูรณ์ควรตรวจร่วมกับไขมันโคเลสเดอรอล, ไขมันไตรกลีเซอไรด์,ไขมัน : HDL, ไขมันไม่ดี : LDL (Lipid Profile)
  4. ในบุคคลสุขภาพดีต้องการเปิดประเมินความเสี่ยงในช่วงที่ตรวจเลือด ไม่ควรปวดข้อ ปวดเข่า มีโรคเกาต์ ไม่ฟกช้ำ ไม่เป็นหวัด ไม่มีอาการท้องเสีย
  5. ผู้ที่ได้รับการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบควรได้รับการตรวจเป็นประจำตามคำแนะนำของแพทย์ที่รักษา

ติดต่อสอบถาม หรือ นัดจอง ได้ที่

ช่องทางติดต่อ Online

You cannot copy content of this page